เกี่ยวกับวารสาร วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย (Journal of Emergency Medical Services of Thailand) เป็นวารสารอิเล็กทรอนิกส์ จัดทำโดยสถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ผลงานวิชาการประเภทบทความวิจัยและบทความวิชาการอื่นๆเพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นด้านการแพทย์ฉุกเฉินทั้งนี้การจัดทำวารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทยดำเนินการตามเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพของศูนย์ดัชนีการอ้างอิงวารสารไทย (Thai Journal Citation Index Centre หรือ TCI)โดยกองบรรณาธิการ ประกอบด้วย ผู้ทรงคุณวุฒิที่มีตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ทรงคุณวุฒิระดับปริญญาเอก จากหน่วยงานต่างๆ ผู้ที่มีผลงานวิจัยต่อเนื่อง รวมทั้งยังได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิสาขาต่าง ๆ จากหลายสถาบันเป็นผู้ประเมินต้นฉบับ หรือ reviewers เพื่อให้บทความที่เผยแพร่มีคุณภาพสูง ฉบับปัจจุบัน ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (2022): เผยแพร่แล้ว: 2022-06-30
ฉบับเต็ม (Full Issue) |
|
นิพนธ์ต้นฉบับ > อุปสรรคและความต้องการของผู้ปฏิบัติการแพทย์ฉุกเฉินในภาคเหนือ : การวิจัยแบบผสมผสาน อะเคื้อ อุณหเลขกะ > ความพึงพอใจของประชาชนที่มีต่อการส่งต่อผู้ป่วยฉุกเฉินในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดพะเยา
ไพรัช วงศ์จุมปู ,ทัศนมินทร์ รัชตาธนรัชต์ > ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการช่วยฟื้นคืนชีพผู้ป่วยหัวใจหยุดเต้นนอกโรงพยาบาลภายในแผนกฉุกเฉิน โรงพยาบาลหนองคาย
ธนาภรณ์ แสงสว่าง, วีระวัฒน์ เธียรประธาน, ไชยพร ยุกเซ็น > ปัจจัยที่สัมพันธ์กับระยะเวลาการรับบริการผู้ป่วยระดับวิกฤตในห้องฉุกเฉินนานกว่า 2 ชั่วโมง ของโรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
> ความสัมพันธ์ระหว่างเวลาเริ่มบริหารยา Norepinephrine กับการเสียชีวิตใน 24 ชั่วโมงของผู้ป่วยที่มีภาวะช็อกจากการติดเชื้อที่เข้ารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์
พฤฒิพงศ์ ปวราจารย์ , ยุทธนา โค้วจิริยะพันธุ์ , เกรียงศักดิ์ ปินตาธรรม > ส่วนขาดในการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉินสำหรับผู้ป่วยสูงอายุพลัดตกหกล้มในประเทศไทย
ธงศักดิ์ชัย สายพระราษฎร์, สนธยา ไสยสาลี , นิตยา แสงประจักษ์ > Factors Associated with 24 Hours Mortality of Traumatic Patients in Chiang Rai Province, Thailand
Kriangsak Pintatham , Wasinee Plongniras
บทความพิเศษ > ผู้ป่วยฉุกเฉินจิตคลุ้มคลั่งกับระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินแบบบูรณาการในพื้นที่
พรทิพย์ วชิรดิลก > ข้อเสนอการจัดการสถานการณ์ฉุกเฉินที่เกิดจากโรคระบาดรุนแรง บทเรียนจากการบริหารจัดการการแพทย์ฉุกเฉินของสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค COVID-19 ในประเทศไทย
พงศ์ธร เกียรติดำรงวงศ์ > การเตรียมพร้อมและจัดการระบบการแพทย์ฉุกเฉินรับสถานการณ์ประชาชนรวมกลุ่ม : กรณีศึกษางานพระบรมศพ พ.ศ. 2559-2560
อนุชา เศรษฐเสถียร |
เมนู
- หน้าแรก
- เกี่ยวกับองค์กร
- บริการข้อมูล
- ข่าวตาม พรบ.
- ข่าวประชาชน
- บริจาค
-
วารสารการแพทย์ฉุกเฉิน
วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย
- วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย ปีที่ 3 ฉบับที่ 2
- วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย ปีที่ 3 ฉบับที่ 1
- วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย ปีที่ 2 ฉบับที่ 2
- วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย ปีที่ 2 ฉบับที่ 1
- วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย ปีที่ 1 ฉบับที่ 2
- วารสารการแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย ปีที่ 1 ฉบับที่ 1
- ติดต่อ สพฉ.
- สืบค้นข้อมูล