เข้าสู่ระบบ  ขนาดตัวอักษร  ก   ก   ก  | แสดงผล  C   C   C  | EN TH | Translate

บทความวิชาการ

เรื่อง
Man-made Disaster กับการแพทย์ บทเรียนจากการขัดแย้งทางการเมือง เมษายน - พฤษภาคม 2553 โดย ศ.นพ.อนันต์ ตัณมุขยกุล (บทความฟื้นวิชา ตีพิมพ์ในวารสารอุบัติเหตุ ปีที่ 29)
ผู้ชม
406
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-06-01 13:17:52
สาธารณภัยตามฤดูกาล บทเรียนจากอุทกภัยในวันที่ 10 ตุลาคม - 5 พฤศจิกายน 2553 โดย ศ.คลินิก เกียรติคุณ นพ.อนันต์ ตัณมุขยกุล (บทความฟื้นวิชา ตีพิมพ์ในวารสารอุบัติเหตุ ปีที่ 29)
ผู้ชม
418
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-06-03 13:29:44
สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย กฤตยา แดงสุวรรณ, นงนุช บุญยัง, อังศุมา อภิชาโต... (ตีพิมพ์ในสงขลานครินทร์เวชสาร ปีที่ ๒๖ ฉบับ ๓)
ผู้ชม
351
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-04-04 15:41:24
EMS Rally : การประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาหน่วยงาน โดย วิจิตร ประพาศพงศ์, สมชาย เรืองวรรณศักดิ์, นคร ทิพยสุนทรศักดิ์
ผู้ชม
324
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-03-15 09:39:15
วิทยาการระบาดการบาดเจ็บและเสียชีวิตจากอุบัติเหตุจราจรทางถนนในประเทศไทย โดย แสงโฉม ศิริพานิช และคณะ (ตีพิพม์ในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข) ...การศึกษาข้อมูลระบบเฝ้าระวังการบาดเจ็บแห่งชาติ สำนักระบาดวิทยา ปี ๒๕๔๑-๒๕๕๐
ผู้ชม
659
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-03-01 00:02:38
การประเมินผลโครงการพัฒนาระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉินโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดขอนแก่น โดย คำรณ ชัยศิริ และ วิทยา ชาติบัญชาชัย (ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสาธารณสุข)
ผู้ชม
514
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-02-28 23:35:25
คุณภาพบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุของหน่วยกู้ชีพ เขตอำเภอสูงเม่น จังหวัดแพร่...โดยภิญโญ เจียรนัยกุลวนิช (ตีพิมพ์ในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข)
ผู้ชม
330
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-02-28 23:20:09
บทสรุปเพื่อการดำเนินการตามพระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ โดย พ.อ.นพ.สุรจิต สุนทรธรรม (ตีพิมพ์ในวารสารวิจัยระบบสาธารณสุข)
ผู้ชม
392
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
2011-02-28 23:26:36
การประเมินผลการกู้ชีพในชุมชน โดย สุพรรณี ธารากุล และคณะ (ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสาธารณสุข ปี 2552) การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลการอบรมปฏิบัติการกู้ชีพในโครงการอบรมการกู้ชีพขั้นต้น อำเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มตัวอย่างคือ อสม. และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในอำเภอบางปะอิน จำนวน 49 คน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคือแบบสอบถาม ผลการศึกษาแสดงถึงความรู้ก่อน-หลังการอบรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่ม อสม.กับเจ้าหน้าที่สาธารณสุข และเจ้าหน้าที่สาธารณสุขให้ความสนใจในการสาธิตกลับค่
ผู้ชม
512
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
ระยะเวลาที่ผู้ป่วยโรคสมองขาดเลือดใช้ในการมารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉินของโรงพยาบาลสงขลานครินทร์ โดย จีรพล เหล็กเพชร, ประสิทธิ์ วุฒิสุทธิเมธาวี, ประเสริฐ วศินานุกร (ตีพิมพ์ในสงขลานครินทร์เวชสาร) การศึกษาย้อนหลังจากเวชระเบียนผู้ป่วยที่มารับการรักษาที่ห้องฉุกเฉิน โรงพยาบาลสงขลานครินทร์ และได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคสมองขาดเลือด ระหว่างเดือนมกราคม-ธันวาคม 2549 จำนวน 228 ราย พบว่า ปัจจัยเสี่ยงมากที่สุดคือ โรคความดันโลหิตสูง อาการส่วนใหญ่ที่มาพบแพทย์คือ แขนขาอ่อนแรง การทรงตัวลำบาก ปากหรื
ผู้ชม
526
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
สัญลักษณ์นี้จดลิขสิทธิ์โดย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ปี พ.ศ.2553
เนื้อหาและรูปที่ปรากฏในเว็บไซต์ของสถาบันฯ เพื่อสื่อสาร ส่งเสริม และสนับสนุน การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
Copyright © NIEM - สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ( สพฉ.) 2019

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ)

โทรศัพท์ 0-2872-1600 โทรสาร 028721604 Email : saraban@niems.go.th
88/40 หมู่ที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 84 พรรษา
สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
saraban@niems.go.th 0-2872-1600 niem1669 1669NIEM NIEMS_1669 @niem1669
ปริมาณการเข้าชม วันนี้ 2 ทั้งหมด 1122