เข้าสู่ระบบ  ขนาดตัวอักษร  ก   ก   ก  | แสดงผล  C   C   C  | EN TH | Translate

บทความวิชาการ

เรื่อง
สมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดย กฤตยา แดงสุวรรณ, นงนุช บุญยัง, อังศุมา อภิชาโต (ตีพิมพ์ในสงขลานครินทร์เวชสาร) การวิจัยเชิงพรรณนานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพต่อระดับสมรรถนะหลักของพยาบาลวิชาชีพงานอุบัติเหตุและฉุกเฉินโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ที่มีขนาด 30เตียงขึ้นไป เก็บข้อมูลด้วยแบบประเมินสมรรถนะตนเอง กลุ่มตัวอย่างจำน
ผู้ชม
550
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
ปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการช่วยชีวิตขั้นสูงของผู้ป่วยฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ ของศูนย์กู้ชีพ นเรนทร โรงพยาบาลราชวิถี โดย อุบล ยี่เฮ็ง โรงพยาบาลราชวิถี (ตีพิมพ์ในวารสารกรมการแพทย์)
ผู้ชม
1172
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่อระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน จังหวัดปทุมธานี โดย วิริญญา ลาชโรจน์ สสจ.ปทุมธานี
ผู้ชม
466
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
สภาพการมีส่วนร่วมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน อำเภอนางรอง จังหวัดบุรีรัมย์
ผู้ชม
739
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
การพัฒนางานบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ โรงพยาบาลนาโพธิ์ จังหวัดบุรีรัมย์ ปีงบประมาณ 2547-2550 การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบใหม่ของการบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ณ จุดเกิดเหตุ โดยวิเคราะห์รูปแบบเดิมเพื่อหาโอกาสในการพัฒนา ใช้กระบวนการทำงานเป็นทีม นำรูปแบบที่พัฒนาขึ้นไปดำเนินการและพัฒนารูปแบบ จนได้รูปแบบที่เหมาะสม ดำเนินการระหว่างวันที่ 1 ตุลาคม 2546 ถึง 31 มีนาคม 2550 ผลการดำเนินงานพบว่า ปีงบประมาณ 2550 สามารถให้บริการผู้ป่วยได้มากขึ้นและรวดเร็วขึ้นกว่าปี 2549 รูปแบบใหม่ที่พ
ผู้ชม
387
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
การผสมผสานการดูแลผู้บาดเจ็บเป็นก้าวแรกของการปรับปรุงผลการดูแลผู้บาดเจ็บรุนแรงในโรงพยาบาลราชวิถี การศึกษาแบบย้อนหลังและไปข้างหน้า เพื่อประเมินผลของการผสมผสานการดูแลผู้บาดเจ็บ ที่มีต่อผลการดูแลรักษาผู้บาดเจ็บรุนแรงของโรงพยาบาลราชวิถี โดย ชาติชาย คล้ายสุบรรณ และคณะ สรุปได้ว่า การผสมผสานการดูแลผู้บาดเจ็บสามารถลดโอกาสการเสียชีวิต รวมถึงระยะเวลาการดูแลก่อนถึงโรงพยาบาลและระยะเวลาในห้องฉุกเฉิน.... (แหล่งที่มา : วารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉินไทย ฉบับที่ 1)
ผู้ชม
452
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
สมรรถนะของพยาบาลสาธารณภัยจากเหตุการณ์ความไม่สงบตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชน นิพนธ์ต้นฉบับเรื่องนี้ตีพิมพ์ในวารสารเวชศาสตร์ฉุกเฉินไทย ฉบับที่ 2 เป็นงานวิจัยเชิงบรรยาย มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะของพยาบาลสาธารณภัยจากเหตุการณ์ความไม่สงบ ตามการรับรู้ของพยาบาลในโรงพยาบาลชุมชนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบสมรรถนะการพยาบาลสาธารณภัยฯ ในกลุ่มพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลชุมชนสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 245 ราย ...
ผู้ชม
540
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
การพัฒนาระบบรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาล ในประเทศไทย พ.ศ.2550 การวิจัยเชิงปฏิบัติการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวทางระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินในประเทศไทยให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน ดำเนินการระหว่างมีนาคม 2550-กันยายน 2551 โดยการสำรวจโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง 32 แห่ง และนำแนวทางการพัฒนาระบบการรักษาพยาบาลฉุกเฉินของโรงพยาบาลไปทดสอบใช้ในโรงพยาบาลแต่ละระดับ จำนวน 9 แห่ง
ผู้ชม
974
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
รายงานการสอบสวนกรณีอุบัติเหตุเครื่องบินโดยสาร ณ จังหวัดภูเก็ต บันทึกเหตุการณ์สำคัญในรอบปี จากการประชุมสัมมนาระบาดวิทยาแห่งชาติ ปี 2550 รายงานการสอบสวนกรณีอุบัติเหตุเครื่องบืนโดยสารที่ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต ซึ่งมีผู้บาดเจ็บและเสียชีวิตจำนวนมาก เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาการตอบสนองต่อภาวะฉุกเฉินทางด้านสาธารณสุขให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ผู้ชม
794
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
กรณีศึกษา : อุบัติเหตุเครื่องบิน One Two Go ไถลออกนอกรันเวย์ ณ ท่าอากาศยานภูเก็ต บันทึกเหตุการณ์สำคัญในรอบปี 2550 จากการประชุมสัมมนาระบาดวิทยาแห่งชาติ ปี 2550 จากเหตุการณ์เครื่องบินไถลออกนอกรันเวย์ขณะกำลังลงจอด ณ ท่าอากาศยานนานาชาติภูเก็ต วันที่ 16 กันยายน 2550 สถาบันนิติเวชวิทยา ได้นำข้อมูลที่ได้จากการชันสูตรพลิกศพผู้ตาย เปรียบเทียบกับผังที่นั่งผู้โดยสารบนเครื่องบิน ศึกษาความเป็นไปของการเสียชีวิตในอุบัติเหตุครั้งนี้
ผู้ชม
496
สร้างเมื่อ

ปรับปรุงล่าสุดเมื่อ
สัญลักษณ์นี้จดลิขสิทธิ์โดย สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ปี พ.ศ.2553
เนื้อหาและรูปที่ปรากฏในเว็บไซต์ของสถาบันฯ เพื่อสื่อสาร ส่งเสริม และสนับสนุน การพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉิน
Copyright © NIEM - สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ ( สพฉ.) 2019

สถาบันการแพทย์ฉุกเฉินแห่งชาติ (สพฉ)

โทรศัพท์ 0-2872-1600 โทรสาร 028721604 Email : saraban@niems.go.th
88/40 หมู่ที่ 4 อาคารเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 84 พรรษา
สาธารณสุขซอย 6 ถนนติวานนท์ ตำบลตลาดขวัญ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี 11000
saraban@niems.go.th 0-2872-1600 niem1669 1669NIEM NIEMS_1669 @niem1669
ปริมาณการเข้าชม วันนี้ 1 ทั้งหมด 952